มัณฑะเลย์ (Mandalay)
เมืองมัณฑะเลย์ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอิระวดี อดีตเมืองหลวงที่สำคัญของประเทศพม่า ก่อตั้งโดยกษัตริย์มินดงในปี พ.ศ. 2400 แต่ภายหลังจากที่พม่าได้ตกเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2428 ทำให้เมืองแห่งนี้ลดความสำคัญลงไป
แต่ทว่าปัจจุบัน เมืองมัณฑะเลย์ได้รับการปรับปรุงจนกลายเป็นเมืองศูนย์กลางที่สำคัญเมืองหนึ่งทางตอนเหนือของประเทศพม่า โดยมีขนาดประชากรที่มากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ และมีความสำคัญทั้งในแง่ของศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว
เมืองมัณฑะเลย์ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอิระวดี อดีตเมืองหลวงที่สำคัญของประเทศพม่า ก่อตั้งโดยกษัตริย์มินดงในปี พ.ศ. 2400 แต่ภายหลังจากที่พม่าได้ตกเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2428 ทำให้เมืองแห่งนี้ลดความสำคัญลงไป
แต่ทว่าปัจจุบัน เมืองมัณฑะเลย์ได้รับการปรับปรุงจนกลายเป็นเมืองศูนย์กลางที่สำคัญเมืองหนึ่งทางตอนเหนือของประเทศพม่า โดยมีขนาดประชากรที่มากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ และมีความสำคัญทั้งในแง่ของศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว
พระเจ้ามินดงทรงสร้างเมืองมัณฑะเลย์เป็นราชธานีในพ.ศ. 2400 นามนี้ได้มาจากชื่อเขาซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของตัวเมืองเขานี้ได้เป็น เขาศักดิ์สิทธิ์มาช้านานแล้ว และตำนานได้กล่าวไว้ว่า พระพุทธองค์แลพระอานนท์ได้เสด็จมาประทับพักที่นั่น พระพุทธองค์ได้ประธานพุทธทำนานไว้ว่าเมื่อพระพุทธศาสนาครบ 2,500 ปี จักเกิดเป็นเมืองใหญ่เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาขึ้นที่เชิงเขาแห่งนี้ พระเจ้ามินดงจึงทำพุทธทำนายให้เกิดเป็นความจริงขี้นมา โดยทรงย้ายราชธานีจากเมืองอมรปุระมายังเมืองมัณฑะเลย์ เมืองนี้มีนามอีกนัยหนึ่งว่า รัตนบูชา
เมืองมัณฑะเลย์ ตัวเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวด้านละ 2 กิโลเมตร มีกำแพงก่อด้วยอิฐใช้สอดินใบเสมาอยู่ข้างบนล้อมรอบ สูงราว 8 เมตร มีเชิงเทินดินอยู่ภายใน มีประตูเมือง 12 ประตู ทิศละ 3 ประตู และมีปราสาทหรือพลับพลาไม้สร้างอยู่ข้างบน พลับพลาไม้นี้ยังมีอยู่อีกทั้งสี่มุมเมือง และยังมี 32 หลังเล็กๆ คั่นระหว่างกลาง รวมมี 48 หลัง คูล้อมรอบกำแพงกว้าง 75 เมตร ลึก 4 เมตร มีสะพานข้ามคูเข้าไปในเมือง
พระราชวังตั้งอยู่ตรงกลางใจเมือง พระราชวังนี้รื้อมาจากเมืองอมรปุระ ประกอบด้วย อาคารไม้เป็นจำนวนมาก หลายหลังสลักอย่างสวยงามและปิดทองตั้งอยู่บนฐานสูง มีกำแพงอิฐล้อมรอบอีกชั้นหนึ่ง พระเจ้าสีป่อ (โอรส) ได้ทรงก่อสร้างอาคารอิฐเพิ่มเติมบ้าง อาคารในพระราชวังเหล่านี้ได้ถูกไฟไหม้ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
ใกล้กับเขามัณฑะเลย์ยังมี วัดกโยกตอกยี ซึ่งสร้างสำเร็จในพ.ศ.2421 มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่สลักจากหินอ่อนก้อนใหญ่ก้อนเดียวประดิษฐานอยู่ หินอ่อนก้อนใหญ่นั้นได้มาจากเหมืองหินสะคอยินทางทิศเหนือของเมืองมัณฑะเลย์ พระพุทธรูปสลักสำเร็จในพ.ศ.2408 และได้มีการฉลองอย่างมโหฬาร
บนเขามัณฑะเลย์มีอาคารทางพุทธศาสนาอีกหลายแห่ง เป็นต้นว่ามีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ขนานพระนามว่า ชเวยัตตอ เป็นพระพุทธรูปชี้พระหัตถ์ไปยังพระราชวังกลางกรุงมัณฑะเลย์ ว่าจะเป็นศูนย์ กลางของราชธานีต่อไป นอกจากนี้ยังมี เจดีย์ ศาลา ทางเดินซึ่งมีหลัง คาคลุม ฯลฯ
นอกตัวเมืองซึ่งมีป้อมปราการล้อม มีวัดสำคัญคือ วัดปอกยี คือ วัดใหญ่ หรือ วัดยะไข่ หรือ วัดพระมหามัยมุนี ตามนามพระพุทธรูป อยู่ทางทิศใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ใกล้กับทิศเหนือของเมืองอมรปุระซึ่งอยู่ติด กัน เหตุที่เรียกวัดยะไข่เนื่องจากว่า พระพุทธรูปมหามัยมุนี นั้นได้นำมาจากเมืองยะไข่ในพ.ศ.2327 ในรัชกาลของ พระเจ้าปะดุง พระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง สูงราว 4 เมตร วัดนี้ได้ถูกไฟไหม้ในพ.ศ.2427 อาคารปัจจุบันซึ่งมีหลังคาเป็นลานประดับปูนปั้นปิดทองได้สร้างขึ้นภายหลังไฟ ไหม้
ในศาลาหนึ่งมีรูปสัมฤทธิ์เป็นรูปทวารบาล 2 รูป สิงห์ 3 รูป และช้างเอราวัณ 1 รูป นำจากเมืองยะไข่พร้อมพระพุทธรูป เป็นรูปซึ่งพระเจ้า บุเรงนองทรงนำมายังกรุงหงสาวดีเมื่อทรงตีพระนครศรีอยุธยาได้ในพ.ศ.2206 และราชคยี พระเจ้ายะไข่ ทรงขนจากกรุงหงสาวดีไป เป็นประติมากรรมขอมสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ต้นพุทธศตวรรษที่ 18 และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ทรงนำมายังพระนครศรีอยุธยาเมื่อทรงตีพระนครหลวงของขอมได้ในพ.ศ.1974 แต่ทุกวันนี้เป็นสมบัติมัณฑะเลย์
พระราชวังตั้งอยู่ตรงกลางใจเมือง พระราชวังนี้รื้อมาจากเมืองอมรปุระ ประกอบด้วย อาคารไม้เป็นจำนวนมาก หลายหลังสลักอย่างสวยงามและปิดทองตั้งอยู่บนฐานสูง มีกำแพงอิฐล้อมรอบอีกชั้นหนึ่ง พระเจ้าสีป่อ (โอรส) ได้ทรงก่อสร้างอาคารอิฐเพิ่มเติมบ้าง อาคารในพระราชวังเหล่านี้ได้ถูกไฟไหม้ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
ใกล้กับเขามัณฑะเลย์ยังมี วัดกโยกตอกยี ซึ่งสร้างสำเร็จในพ.ศ.2421 มีพระพุทธรูปขนาดใหญ่สลักจากหินอ่อนก้อนใหญ่ก้อนเดียวประดิษฐานอยู่ หินอ่อนก้อนใหญ่นั้นได้มาจากเหมืองหินสะคอยินทางทิศเหนือของเมืองมัณฑะเลย์ พระพุทธรูปสลักสำเร็จในพ.ศ.2408 และได้มีการฉลองอย่างมโหฬาร
บนเขามัณฑะเลย์มีอาคารทางพุทธศาสนาอีกหลายแห่ง เป็นต้นว่ามีพระพุทธรูปขนาดใหญ่ขนานพระนามว่า ชเวยัตตอ เป็นพระพุทธรูปชี้พระหัตถ์ไปยังพระราชวังกลางกรุงมัณฑะเลย์ ว่าจะเป็นศูนย์ กลางของราชธานีต่อไป นอกจากนี้ยังมี เจดีย์ ศาลา ทางเดินซึ่งมีหลัง คาคลุม ฯลฯ
นอกตัวเมืองซึ่งมีป้อมปราการล้อม มีวัดสำคัญคือ วัดปอกยี คือ วัดใหญ่ หรือ วัดยะไข่ หรือ วัดพระมหามัยมุนี ตามนามพระพุทธรูป อยู่ทางทิศใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ใกล้กับทิศเหนือของเมืองอมรปุระซึ่งอยู่ติด กัน เหตุที่เรียกวัดยะไข่เนื่องจากว่า พระพุทธรูปมหามัยมุนี นั้นได้นำมาจากเมืองยะไข่ในพ.ศ.2327 ในรัชกาลของ พระเจ้าปะดุง พระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง สูงราว 4 เมตร วัดนี้ได้ถูกไฟไหม้ในพ.ศ.2427 อาคารปัจจุบันซึ่งมีหลังคาเป็นลานประดับปูนปั้นปิดทองได้สร้างขึ้นภายหลังไฟ ไหม้
ในศาลาหนึ่งมีรูปสัมฤทธิ์เป็นรูปทวารบาล 2 รูป สิงห์ 3 รูป และช้างเอราวัณ 1 รูป นำจากเมืองยะไข่พร้อมพระพุทธรูป เป็นรูปซึ่งพระเจ้า บุเรงนองทรงนำมายังกรุงหงสาวดีเมื่อทรงตีพระนครศรีอยุธยาได้ในพ.ศ.2206 และราชคยี พระเจ้ายะไข่ ทรงขนจากกรุงหงสาวดีไป เป็นประติมากรรมขอมสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ต้นพุทธศตวรรษที่ 18 และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ทรงนำมายังพระนครศรีอยุธยาเมื่อทรงตีพระนครหลวงของขอมได้ในพ.ศ.1974 แต่ทุกวันนี้เป็นสมบัติมัณฑะเลย์
พระราชวังมัณฑะเลย์ พระราชวังที่ส่วนใหญ่ก่อสร้างด้วยไม้สักที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของเอเชีย ในสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา หรือสงครามโลกครั้งที่ 2 วันที่ 20 มีนาคม 2488 เครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรโดยกองทัพอังกฤษ ได้ทิ้งระเบิดจำนวนมากมายถล่มพระราชวังมัณฑะเลย์ของพม่า ด้วยเหตุผลว่าพระราชวังนี้เป็นแหล่งซ่องสุมกำลังของกองทัพญี่ปุ่น พระราชวังมัณฑะเลย์ซึ่งเป็นพระราชวังไม้สักก็ถูกไฟไหม้ เผาราบเป็นหน้ากลอง หลงเหลือก็แต่ป้อมปราการและคูน้ำรอบพระราชวัง ที่ยังเป็นของดั่งเดิมอยู่
ปัจจุปัน พระราชวังที่เห็นอยู่เป็นพระราชวังที่รัฐบาลพม่าได้จำลองรูปแบบของพระราชวัง ของเก่าขึ้นมา แต่ที่เหมือนวังเก่าก็แค่เพียงโครงสร้างกับ ชื่อเท่านั้น นอกจากนั้นแล้ว ยังไม่เห็นความสวยงาม อย่างที่เล่าลือกันว่าเป็นวังที่สวยที่สุดหลังนึงในภูมิภาคเอเชีย
ว่ากันง่ายๆ ก็คือ ที่รัฐบาลพม่าสร้างขึ้นมาใหม่ได้ ไม่ใด้ใส่ความปราณีต และศิลปะ อะไรลงไปเลย เพียงแค่ว่าทำขึ้นมาแทนของเก่าเท่านั้นเอง เห็นแล้วก็รู้สึกผิดหวังอย่างแรงเหมือนกัน
ปัจจุปัน พระราชวังที่เห็นอยู่เป็นพระราชวังที่รัฐบาลพม่าได้จำลองรูปแบบของพระราชวัง ของเก่าขึ้นมา แต่ที่เหมือนวังเก่าก็แค่เพียงโครงสร้างกับ ชื่อเท่านั้น นอกจากนั้นแล้ว ยังไม่เห็นความสวยงาม อย่างที่เล่าลือกันว่าเป็นวังที่สวยที่สุดหลังนึงในภูมิภาคเอเชีย
ว่ากันง่ายๆ ก็คือ ที่รัฐบาลพม่าสร้างขึ้นมาใหม่ได้ ไม่ใด้ใส่ความปราณีต และศิลปะ อะไรลงไปเลย เพียงแค่ว่าทำขึ้นมาแทนของเก่าเท่านั้นเอง เห็นแล้วก็รู้สึกผิดหวังอย่างแรงเหมือนกัน
พระราชวังมัณฑะเลย์ู
|
พระราชวังมัณฑะเลย์ู
|
พระราชวังมัณฑะเลย์ูู
|
พระราชวังมัณฑะเลย์ู
|
การเดินเที่ยววัง มัณฑะเลย์ คือ เดินเข้าทางด้านหน้าวัง ผ่านห้องโถง และห้องรับรองชั้นต่างๆ ที่แบ่งเป็นชั้นๆ ก็แล้วแต่งานราชการ งานศึก หรือ งานภายในวัง พอผ่านแนวหลังรับรองต่างๆ ก็จะมาถึงใจกลางวัง เป็น ตำหนักใน คือที่เฉพาะส่วนกษัตริย์ ถัดต่อไปยังด้านหลัง ก็จะเป็น กระต็อบของนางสนมปลูกกันเหมือนเป็นห้องแถว ดูเป็นระเบียบเรียบร้อย ส่วนใหญ่จะถูกปิดตาย ให้ดูได้แต่ข้างนอก อันที่จริงแล้วข้างในคงไม่มีอะไรนอกจากห้องโล่งๆ ว่างๆ แต่ที่ต้องปิดเอาไว้ ก็เพราะว่า เค้ากัน ไม่ให้เด็กวัยรุ่นพม่า แอบหลบเข้าไปจู๋จี๋กันนั่นเอง เพราะว่า บรรยากาศภายในคงโรแมนติก มืดๆ มีแสงสลัวๆ และปลอดคน
เมืองมัณฑะเลย์ ปัจจุบันนี้มีฐานะเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของพม่ารองจาก ย่างกุ้ง และเป็นราชธานีสุดท้ายของราชวงศ์พม่าก่อนที่ระบอบกษัตริย์จะถูกโค่นล้มลง และก่อนจะตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
ปีพ.ศ. 2367 กอง ทัพอังกฤษยกทัพเรือล่องขึ้นมาตามแม่น้ำอิระวดี ที่พวกอังกฤษเรียกกันว่า The Road to Mandalay อังกฤษเข้ายึดพม่าจากทางตอนใต้บุก ขึ้นสู่ภาคเหนือของประเทศพม่า จากเมืองหลวงกรุงอังวะ พม่าย้ายเมืองมาเป็นตั้งเมืองหลวงที่เมืองอมรปุระ สงครามระหว่างอังกฤษกับพม่าก็เกิดขึ้นเรื่อยๆ พม่ารบแพ้อังกฤษ ครั้งแล้วครั้งเล่า....
สงครามที่พม่าเหมือนจะไม่มีทางชนะ พระเจ้ามินดงย้ายเมืองหลวงอีกครั้งจากเมืองอมรปุระย้ายมาสู่เมืองมัณฑะเลย์ เพื่อเป็นการถือฤกษ์เอาชัยแก้เคล็ดว่าจะสามารถชนะกองทัพอังกฤษได้ ที่ใช้วิธีย้ายเมืองหลวงแก้เคล็ดอย่างนี้ก็เพราะว่า ในอดีต ขณะที่พม่าเกิดเหตุการณ์วิกฤต กษัตริย์จะใช้วิธีการย้ายเมืองหลวง แล้ว พม่าก็จะชนะวิกฤตนั้นได้ ซึ่งใช้ได้ผลในหลายๆ ราชวงศ์ คงเพราะเหตุนี้เอง กระมังที่ทำให้ รัฐบาลสล็อค ถือเคล็ดย้ายเมืองหลวง เหมือนกัน และย้ายที่ก็ย้ายไปอยู่กลางป่าซะเลย จะได้เลิกประท้วงกันซะที
มัณฑะเลย์เป็นราชธานีอยู่เพียง 28 ปี อังกฤษเข้าตีมัณฑะเลย์แตกในปี 2367 โอรสของพระเจ้ามินดง พระเจ้าสีป้อจึงเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายที่ได้ประทับบนบัลลังก์นกยูงที่มี ประวัติศาสตร์นับพันปี พระเจ้าสีป้อ ถูกส่งไปอินเดียและเชื่อกันว่าถูกประหารที่นั่นโดยไม่ได้กลับพม่าอีกเลย ราชวงศ์สุดท้ายก็ถึงกาลอวสาน
เมืองมัณฑะเลย์ ปัจจุบันนี้มีฐานะเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของพม่ารองจาก ย่างกุ้ง และเป็นราชธานีสุดท้ายของราชวงศ์พม่าก่อนที่ระบอบกษัตริย์จะถูกโค่นล้มลง และก่อนจะตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
ปีพ.ศ. 2367 กอง ทัพอังกฤษยกทัพเรือล่องขึ้นมาตามแม่น้ำอิระวดี ที่พวกอังกฤษเรียกกันว่า The Road to Mandalay อังกฤษเข้ายึดพม่าจากทางตอนใต้บุก ขึ้นสู่ภาคเหนือของประเทศพม่า จากเมืองหลวงกรุงอังวะ พม่าย้ายเมืองมาเป็นตั้งเมืองหลวงที่เมืองอมรปุระ สงครามระหว่างอังกฤษกับพม่าก็เกิดขึ้นเรื่อยๆ พม่ารบแพ้อังกฤษ ครั้งแล้วครั้งเล่า....
สงครามที่พม่าเหมือนจะไม่มีทางชนะ พระเจ้ามินดงย้ายเมืองหลวงอีกครั้งจากเมืองอมรปุระย้ายมาสู่เมืองมัณฑะเลย์ เพื่อเป็นการถือฤกษ์เอาชัยแก้เคล็ดว่าจะสามารถชนะกองทัพอังกฤษได้ ที่ใช้วิธีย้ายเมืองหลวงแก้เคล็ดอย่างนี้ก็เพราะว่า ในอดีต ขณะที่พม่าเกิดเหตุการณ์วิกฤต กษัตริย์จะใช้วิธีการย้ายเมืองหลวง แล้ว พม่าก็จะชนะวิกฤตนั้นได้ ซึ่งใช้ได้ผลในหลายๆ ราชวงศ์ คงเพราะเหตุนี้เอง กระมังที่ทำให้ รัฐบาลสล็อค ถือเคล็ดย้ายเมืองหลวง เหมือนกัน และย้ายที่ก็ย้ายไปอยู่กลางป่าซะเลย จะได้เลิกประท้วงกันซะที
มัณฑะเลย์เป็นราชธานีอยู่เพียง 28 ปี อังกฤษเข้าตีมัณฑะเลย์แตกในปี 2367 โอรสของพระเจ้ามินดง พระเจ้าสีป้อจึงเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายที่ได้ประทับบนบัลลังก์นกยูงที่มี ประวัติศาสตร์นับพันปี พระเจ้าสีป้อ ถูกส่งไปอินเดียและเชื่อกันว่าถูกประหารที่นั่นโดยไม่ได้กลับพม่าอีกเลย ราชวงศ์สุดท้ายก็ถึงกาลอวสาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น