Infinitive เป็นเรื่องไม่ยาก ถ้ารู้เคล็ดลับ
พวกเรามักงุนงงสับสนกับการใช้ infinitive เป็นอย่างยิ่ง จนใช้กันผิดๆถูกๆและก็ท้อใจ
กันไปตามๆกันกับการเรียนรู้การใช้ infinitive
เมื่อก่อนผู้เขียนเองก็ตกอยู่ในสภาพนี้เช่นเดียวกัน แต่ในที่สุด ผู้เขียนก็ได้ค้นพบเคล็ด
ลับของการใช้ infinitive เข้าจนได้ และก็ได้นำเคล็ดลับนี้มาเปิดเผยไว้ในบทความ 2 บทความ คือ ‘Infinitive แบบสำเร็จรูป’ ที่ท่านผู้อ่านกำลังอ่านอยู่นี้ และอีกบทความหนึ่ง คือ ‘Infinitive แบบสร้างเอง’ ซึ่งมี link อยู่ด้านซ้ายของบทความนี้
กันไปตามๆกันกับการเรียนรู้การใช้ infinitive
เมื่อก่อนผู้เขียนเองก็ตกอยู่ในสภาพนี้เช่นเดียวกัน แต่ในที่สุด ผู้เขียนก็ได้ค้นพบเคล็ด
ลับของการใช้ infinitive เข้าจนได้ และก็ได้นำเคล็ดลับนี้มาเปิดเผยไว้ในบทความ 2 บทความ คือ ‘Infinitive แบบสำเร็จรูป’ ที่ท่านผู้อ่านกำลังอ่านอยู่นี้ และอีกบทความหนึ่ง คือ ‘Infinitive แบบสร้างเอง’ ซึ่งมี link อยู่ด้านซ้ายของบทความนี้
เมื่อท่านผู้อ่านอ่านบทความทั้ง 2 นี้แล้ว ก็จะเข้าใจได้อย่างแตกฉานว่า แท้จริงแล้ว
infinitive แบ่งเป็น 2 แบบ คือ ‘แบบสำเร็จรูป’ และ ‘แบบสร้างเอง’
และนับจากนี้ไปพวกเราก็จะมีความรู้เกี่ยวกับ infinitive ในระดับเดียวกับเจ้าของภาษา แล้ว นั่นหมายความว่า infinitive ก็จะเป็นเรื่องง่ายๆสำหรับพวกเรา จนเราอยากจะใช้อยู่
ตลอดเวลาเลยทีเดียว
infinitive แบ่งเป็น 2 แบบ คือ ‘แบบสำเร็จรูป’ และ ‘แบบสร้างเอง’
และนับจากนี้ไปพวกเราก็จะมีความรู้เกี่ยวกับ infinitive ในระดับเดียวกับเจ้าของภาษา แล้ว นั่นหมายความว่า infinitive ก็จะเป็นเรื่องง่ายๆสำหรับพวกเรา จนเราอยากจะใช้อยู่
ตลอดเวลาเลยทีเดียว
Infinitive คืออะไร?
Infinitive แบ่งเป็น 2 รูป คือ
–Infinitive with ‘to’ หรือ to-infinitive เช่น to be; to have; to
do; to go; to eat; to run; to play เป็นต้น
–Infinitive without ‘to’ เช่น be; have; do; go; eat; run; play
เป็นต้น
–Infinitive with ‘to’ หรือ to-infinitive เช่น to be; to have; to
do; to go; to eat; to run; to play เป็นต้น
–Infinitive without ‘to’ เช่น be; have; do; go; eat; run; play
เป็นต้น
การใช้ to-infinitive และ infinitive without ‘to’ นี้ จะไม่มีการเปลี่ยนรูปโดยเด็ด
ขาด ไม่ว่าจะอยู่ในรูป present, past หรือ future tense ก็ตาม เช่น
ขาด ไม่ว่าจะอยู่ในรูป present, past หรือ future tense ก็ตาม เช่น
–The boy came to play with our dog.
To-infinitive จะมีบทบาทในการใช้มากกว่า และมีรายละเอียดของหลักการใช้มากกว่า
infinitive without ‘to’ มากมายนัก ดังนั้น เวลากล่าวถึงคำว่า infinitive ก็จะเป็นการ
หมายถึง to-infinitive โดยนัยนั่นเอง
อีกประการหนึ่งก็คือ infinitive ที่เราสับสนงุนงงจนใช้กันไม่เป็นก็คือ เจ้าตัวดี to-infinitive นี่แหละ เราจึงต้องปราบพยศ to-infinitive นี้ให้อยู่หมัดให้ได้ บทความนี้จึง
เน้นกล่าวถึงการใช้ to-infinitive เป็นส่วนใหญ่
ส่วน infinitive without ‘to’ นั้นมีรายละเอียดของหลักการใช้อยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น และส่วนใหญ่พวกเราก็ใช้เป็นอยู่แล้ว เช่น
–Let’s go.
–Let it be.
infinitive without ‘to’ มากมายนัก ดังนั้น เวลากล่าวถึงคำว่า infinitive ก็จะเป็นการ
หมายถึง to-infinitive โดยนัยนั่นเอง
อีกประการหนึ่งก็คือ infinitive ที่เราสับสนงุนงงจนใช้กันไม่เป็นก็คือ เจ้าตัวดี to-infinitive นี่แหละ เราจึงต้องปราบพยศ to-infinitive นี้ให้อยู่หมัดให้ได้ บทความนี้จึง
เน้นกล่าวถึงการใช้ to-infinitive เป็นส่วนใหญ่
ส่วน infinitive without ‘to’ นั้นมีรายละเอียดของหลักการใช้อยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น และส่วนใหญ่พวกเราก็ใช้เป็นอยู่แล้ว เช่น
–Let’s go.
–Let it be.
–They made it happen.
และ infinitive without ‘to’ นี้ จะได้รับการกล่าวถึงในตอนท้ายของบทความนี้
To-infinitive แบบสำเร็จรูป
To-infinitive แบบสำเร็จรูปก็คือ to-infinitive ที่นักภาษาศาสตร์กำหนดขึ้นมาเป็น
แบบสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้ได้ทันทีในแบบเดียวกับที่เจ้าของภาษาใช้
To-infinitive หรือ to-inf แบบสำเร็จรูปแบ่งเป็น 4 ชนิดคือ
1. Appear/seem/look/prove + to-inf
แบบสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้ได้ทันทีในแบบเดียวกับที่เจ้าของภาษาใช้
To-infinitive หรือ to-inf แบบสำเร็จรูปแบ่งเป็น 4 ชนิดคือ
1. Appear/seem/look/prove + to-inf
2. คำกริยา vi + to-inf
3. คำกริยา vt + to-inf
4. คำกริยา vt + object + to-inf
1. Appear/seem/look/prove + to-inf แบบสำเร็จรูป
คำกริยา appear/seem/look/prove เป็นคำกริยา vi ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับ
to-inf เพื่อแสดงคุณลักษณะหรือตัวตนของประธานดังต่อไปนี้
คำกริยา appear/seem/look/prove เป็นคำกริยา vi ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับ
to-inf เพื่อแสดงคุณลักษณะหรือตัวตนของประธานดังต่อไปนี้
–appear to be adj/noun = ปรากฏออกมาเป็น
–appear to do sth = ปรากฏออกมาว่าจะทำบางสิ่ง
–seem to be adj/noun = ดูเหมือนว่าจะเป็น
–seem to do sth = ดูเหมือนว่าจะทำบางสิ่ง
–look to be adj/noun = มองดูออกมาเป็น
–prove to be adj = พิสูจน์ว่าเป็น
–His remark proves to be right.
ความเห็นของเขาพิสูจน์แล้วว่าถูกต้อง –His remark proves to be right.
หมายเหตุ: adj = adjective
2. คำกริยา vi + to-inf แบบสำเร็จรูป
คำกริยา vi ก็คือ intransitive verb (vi) หรือคำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ
คำกริยา vi + to-inf ก็คือคำกริยา vi ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับ to-inf เพื่อ
แสดงจุดประสงค์หรือผลของการกระทำของคำกริยา vi นั้นๆ เช่น
–He called to say goodbye.
เขาโทรมาเพื่อบอกลา
ประโยคนี้ call เป็นคำกริยา vi เมื่อใช้คู่กับ ‘to say goodbye’ คำกริยา call ก็จะ
แสดงจุดประสงค์ออกมาว่า โทรมา ‘เพื่อบอกลา’
ลองไปดูอีกประโยค
–They failed to win the title.
พวกเขาพลาดที่จะชนะได้ตำแหน่งแชมป์
คำกริยา vi + to-inf ก็คือคำกริยา vi ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับ to-inf เพื่อ
แสดงจุดประสงค์หรือผลของการกระทำของคำกริยา vi นั้นๆ เช่น
–He called to say goodbye.
เขาโทรมาเพื่อบอกลา
ประโยคนี้ call เป็นคำกริยา vi เมื่อใช้คู่กับ ‘to say goodbye’ คำกริยา call ก็จะ
แสดงจุดประสงค์ออกมาว่า โทรมา ‘เพื่อบอกลา’
ลองไปดูอีกประโยค
–They failed to win the title.
พวกเขาพลาดที่จะชนะได้ตำแหน่งแชมป์
ประโยคนี้ fail เป็นคำกริยา vi เมื่อใช้คู่กับ ‘to win the title’ คำกริยา fail ก็ได้แสดง
ผลของการกระทำของตนออกมา นั่นคือ พลาด ‘ที่จะชนะได้ตำแหน่งแชมป์’
ผลของการกระทำของตนออกมา นั่นคือ พลาด ‘ที่จะชนะได้ตำแหน่งแชมป์’
คำกริยา vi + to-inf ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กันแบบสำเร็จรูปมีทั้งคำกริยา vi
+ to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันและใช้ไม่บ่อยดังต่อไปนี้
คำกริยา vi + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
+ to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันและใช้ไม่บ่อยดังต่อไปนี้
คำกริยา vi + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
–agree to do sth = ตอบตกลงเพื่อทำบางสิ่ง
–arrange to do sth = เตรียมการเพื่อทำบางสิ่ง
–arrange to do sth = เตรียมการเพื่อทำบางสิ่ง
–aim to do sth = มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำบางสิ่ง
–call to do sth = โทรมาเพื่อทำบางสิ่ง
–come to do sth = มาเพื่อทำบางสิ่ง; ถึงจุดที่จะทำบางสิ่ง
–fail to do sth = พลาดที่จะทำบางสิ่ง
–call to do sth = โทรมาเพื่อทำบางสิ่ง
–come to do sth = มาเพื่อทำบางสิ่ง; ถึงจุดที่จะทำบางสิ่ง
–fail to do sth = พลาดที่จะทำบางสิ่ง
–go to do sth = ไปเพื่อทำบางสิ่ง
–run to do sth = วิ่งเพื่อทำบางสิ่ง
–stand to do sth = ยืนเพื่อทำบางสิ่ง
–run to do sth = วิ่งเพื่อทำบางสิ่ง
–stand to do sth = ยืนเพื่อทำบางสิ่ง
–stop to do sth = หยุดทำบางสิ่งเพื่อที่จะทำสิ่งอื่น
–I stop to listen to a piece of news attentively.
ฉันหยุด(ทำบางสิ่ง)เพื่อที่จะฟังข่าวข่าวหนึ่งอย่างตั้งอกตั้งใจ
–I stop to listen to a piece of news attentively.
ฉันหยุด(ทำบางสิ่ง)เพื่อที่จะฟังข่าวข่าวหนึ่งอย่างตั้งอกตั้งใจ
คำกริยา vi + to-inf ที่ใช้ไม่บ่อย
–consent to do sth = ตกลงที่จะทำบางสิ่ง
–awake to do sth = ตื่นขึ้นมาเพื่อทำบางสิ่ง
–care to do sth = อยากที่จะทำบางสิ่ง (มักใช้ในรูปคำถามหรือปฏิเสธ)
–dare to do sth = กล้าที่จะทำบางสิ่ง (มักใช้ในรูปคำถามหรือปฏิเสธ)
–grow to do sth = มาถึงจุดที่จะรู้สึกบางสิ่ง
–hesitate to do sth = ลังเลที่จะทำบางสิ่ง
–live to do sth = มีชีวิตอยู่เพื่อทำบางสิ่ง
–see to do sth = เห็นเพื่อทำบางสิ่ง
–tend to do sth = มีแนวโน้มที่จะทำบางสิ่ง
–turn to do sth = หมุน/หมุนตัวเพื่อทำบางสิ่ง
–(not) bother to do sth = (ไม่) ลำบากที่จะทำบางสิ่ง; (ไม่) สนอกสนใจที่จะ
ทำบางสิ่ง
–(not) bother to do sth = (ไม่) ลำบากที่จะทำบางสิ่ง; (ไม่) สนอกสนใจที่จะ
ทำบางสิ่ง
–(not) trouble to do sth = (ไม่) ลำบากที่จะทำบางสิ่ง
โดยหลักการของคำกริยา vi + to-inf เพื่อแสดงจุดประสงค์หรือผลของการกระทำ
ของคำกริยา vi นี้ เราไม่สามารถนำ to-inf มาใช้กับคำกริยา vi ใดๆได้ตามใจชอบ แต่
ต้องใช้กับคำกริยา vi ที่นักภาษาศาสตร์กำหนดไว้ให้ข้างต้นเท่านั้น
ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องท่องจำคำกริยา vi ข้างต้นไว้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดย
วิธีการจำก็คือ ให้จำจากความหมายของคำกริยา vi เพราะความหมายของคำกริยา vi จะ
เป็นตัวบอกโดยนัยว่า คำกริยา vi นั้นใช้กับ to-inf ได้
และให้ท่องจำคำกริยา vi + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันก่อนก็ได้ เมื่อมีเวลาว่าง
จึงค่อยมาท่องจำคำกริยา vi + to-inf ที่เหลือ
ของคำกริยา vi นี้ เราไม่สามารถนำ to-inf มาใช้กับคำกริยา vi ใดๆได้ตามใจชอบ แต่
ต้องใช้กับคำกริยา vi ที่นักภาษาศาสตร์กำหนดไว้ให้ข้างต้นเท่านั้น
ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องท่องจำคำกริยา vi ข้างต้นไว้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดย
วิธีการจำก็คือ ให้จำจากความหมายของคำกริยา vi เพราะความหมายของคำกริยา vi จะ
เป็นตัวบอกโดยนัยว่า คำกริยา vi นั้นใช้กับ to-inf ได้
และให้ท่องจำคำกริยา vi + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันก่อนก็ได้ เมื่อมีเวลาว่าง
จึงค่อยมาท่องจำคำกริยา vi + to-inf ที่เหลือ
3. คำกริยา vt + to-inf แบบสำเร็จรูป
คำกริยา vt ก็คือ transitive verb (vt) หรือคำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ
คำกริยา vt + to-inf เป็นคำกริยา vt ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับกรรมที่เป็น
to-inf ดังนั้น จึงขอให้ท่านผู้อ่านสังเกตด้วยว่า คำแปลภาษาไทยที่ให้ไว้จะไม่มีคำว่า
'เพื่อ' อยู่ด้วย เพราะ to-inf ในกรณีนี้เป็น 'กรรม'
คำกริยา vt + to-inf เป็นคำกริยา vt ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับกรรมที่เป็น
to-inf ดังนั้น จึงขอให้ท่านผู้อ่านสังเกตด้วยว่า คำแปลภาษาไทยที่ให้ไว้จะไม่มีคำว่า
'เพื่อ' อยู่ด้วย เพราะ to-inf ในกรณีนี้เป็น 'กรรม'
คำกริยา vt + to-inf มีทั้งคำกริยา vt + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันและใช้
ไม่บ่อย ดังต่อไปนี้
คำกริยา vt + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
ไม่บ่อย ดังต่อไปนี้
คำกริยา vt + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
–agree to do sth = เห็นด้วยกับการทำบางสิ่ง (agree ในความหมายนี้เป็น vt)
–begin to do sth = เริ่มทำบางสิ่ง
–start to do sth = เริ่มทำบางสิ่งที่ไม่เคยทำมาก่อน
–continue to do sth = ดำเนินการทำบางสิ่งต่อไป
–decide to do sth = ตัดสินใจทำบางสิ่ง
–hate to do sth = ไม่ชอบทำบางสิ่ง
–intend to do sth = ตั้งใจทำบางสิ่ง
–learn to do sth = เรียนรู้การทำบางสิ่ง
–like/love to do sth = ชอบทำบางสิ่ง
–need to do sth = จำเป็นต้องทำบางสิ่ง
–need to do sth = จำเป็นต้องทำบางสิ่ง
–want to do sth = ต้องการทำบางสิ่ง
–plan to do sth = วางแผนทำบางสิ่ง
–plan to do sth = วางแผนทำบางสิ่ง
–prefer to do sth = ชื่นชอบทำบางสิ่งมากกว่าทำสิ่งอื่น
–promise to do sth = สัญญาทำบางสิ่ง
–try to do sth = พยายามทำบางสิ่ง
–forget to do sth = ลืมทำบางสิ่ง
–I forgot to pay my phone bill yesterday. So I have to pay today.
เมื่อวานฉันลืมจ่ายเงินใบเรียกเก็บเงินค่าโทรศัพท์ ดังนั้นฉันต้องจ่ายวันนี้
–remember to do sth = จำได้ว่าตัวเองต้องทำบางสิ่ง
–I remember to buy you some fruits.
ฉันจำได้ว่าจะต้องซื้อผลไม้ให้เธอ
คำกริยา vt + to-inf ที่ใช้ไม่บ่อย
–choose to do sth = เลือกทำบางสิ่ง
–claim to do sth = ยืนยันการทำบางสิ่ง
–expect to do sth = คาดคิดถึงการทำบางสิ่ง
–help to do sth = ช่วยทำบางสิ่ง
–forget to do sth = ลืมทำบางสิ่ง
–I forgot to pay my phone bill yesterday. So I have to pay today.
เมื่อวานฉันลืมจ่ายเงินใบเรียกเก็บเงินค่าโทรศัพท์ ดังนั้นฉันต้องจ่ายวันนี้
–remember to do sth = จำได้ว่าตัวเองต้องทำบางสิ่ง
–I remember to buy you some fruits.
ฉันจำได้ว่าจะต้องซื้อผลไม้ให้เธอ
คำกริยา vt + to-inf ที่ใช้ไม่บ่อย
–choose to do sth = เลือกทำบางสิ่ง
–claim to do sth = ยืนยันการทำบางสิ่ง
–expect to do sth = คาดคิดถึงการทำบางสิ่ง
–help to do sth = ช่วยทำบางสิ่ง
–hope to do sth = หวังทำบางสิ่ง
–manage/แมะนิจ to do sth = จัดการทำบางสิ่งให้สำเร็จลุล่วงไป
–mean to do sth = ตั้งใจทำบางสิ่ง
–offer to do sth = เสนอตัวที่จะทำบางสิ่งให้
–offer to do sth = เสนอตัวที่จะทำบางสิ่งให้
–prepare to do sth = เตรียมตัวทำบางสิ่ง
–pretend to do sth = แสร้งทำบางสิ่ง
–refuse to do sth = ปฎิเสธทำบางสิ่ง
–regret to do sth = เสียใจที่ต้องทำบางสิ่ง
–regret to do sth = เสียใจที่ต้องทำบางสิ่ง
–threaten to do sth = ข่มขู่ทำบางสิ่ง
–wish to do sth = ปรารถนาทำบางสิ่ง
–(not) think to do sth = (ไม่ได้) คิดพิจารณาการทำบางสิ่ง
–(can’t/can) afford to do sth = (ไม่สามารถ/สามารถ) มีเงิน/เวลาทำบางสิ่ง
–turn out to be sb = กลับกลายเป็นบางคน
–He turns out to be her brother.
เขากลับกลายเป็นพี่ชายของเจ้าหล่อนไป
คำกริยา vt + to-inf ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับกรรมที่เป็น to-inf นี้ เราไม่
สามารถนำเอา to-inf ไปเป็นกรรมของคำกริยา vt ใดๆได้เองตามใจชอบ แต่
เราต้องใช้ to-inf เป็นกรรมของคำกริยา vt ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเท่านั้น
ดังนั้น ถ้าท่านผู้อ่านพยายามท่องจำ คำกริยา vt + to-inf แบบสำเร็จรูปเหล่านี้ไว้ได้
มากเท่าใด เราก็ยิ่งจะใช้คำกริยา vt + to-inf ได้ถูกต้องในแบบที่เจ้าของภาษาใช้มาก
ขึ้นเท่านั้น
วิธีการจำก็คือ ความหมายของคำกริยา vt ข้างต้นจะบอกกับเราโดยนัยว่า คำกริยา vt ใดใช้ to-inf เป็นกรรมของตนได้ ดังนั้น ท่านผู้อ่านจึงควรท่องจำความหมายของคำกริยา
vt ข้างต้นให้ได้ก่อน แล้วก็จะจำการใช้กับ to-inf ตามมาได้เอง
และให้ท่องจำคำกริยา vt + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันก่อน เมื่อใช้เก่งแล้ว
จึงค่อยมาท่องจำคำกริยา vt + to-inf ที่เหลือ
–(can’t/can) afford to do sth = (ไม่สามารถ/สามารถ) มีเงิน/เวลาทำบางสิ่ง
–turn out to be sb = กลับกลายเป็นบางคน
–He turns out to be her brother.
เขากลับกลายเป็นพี่ชายของเจ้าหล่อนไป
คำกริยา vt + to-inf ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้คู่กับกรรมที่เป็น to-inf นี้ เราไม่
สามารถนำเอา to-inf ไปเป็นกรรมของคำกริยา vt ใดๆได้เองตามใจชอบ แต่
เราต้องใช้ to-inf เป็นกรรมของคำกริยา vt ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเท่านั้น
ดังนั้น ถ้าท่านผู้อ่านพยายามท่องจำ คำกริยา vt + to-inf แบบสำเร็จรูปเหล่านี้ไว้ได้
มากเท่าใด เราก็ยิ่งจะใช้คำกริยา vt + to-inf ได้ถูกต้องในแบบที่เจ้าของภาษาใช้มาก
ขึ้นเท่านั้น
วิธีการจำก็คือ ความหมายของคำกริยา vt ข้างต้นจะบอกกับเราโดยนัยว่า คำกริยา vt ใดใช้ to-inf เป็นกรรมของตนได้ ดังนั้น ท่านผู้อ่านจึงควรท่องจำความหมายของคำกริยา
vt ข้างต้นให้ได้ก่อน แล้วก็จะจำการใช้กับ to-inf ตามมาได้เอง
และให้ท่องจำคำกริยา vt + to-inf ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันก่อน เมื่อใช้เก่งแล้ว
จึงค่อยมาท่องจำคำกริยา vt + to-inf ที่เหลือ
กลเม็ดการใช้คำกริยา vi + to-inf และ vt + to-inf แบบสำเร็จรูป
ในเชิงปฏิบัติ
ในเชิงปฏิบัติหรือในการใช้จริง การใช้คำกริยา vi + to-inf และคำกริยา vt + to-inf แบบสำเร็จรูปจะไม่มีความแตกต่างกัน เพราะมีรูป ‘คำกริยา + to-inf’ เหมือนกัน ดังนั้น เราจึงสามารท่องจำคำกริยาเหล่านี้รวมๆกันไปหรือปะปนกันไปทั้งข้อ 2 และข้อ 3 ได้
และ สมมติว่าเราท่องจำได้ว่าคำกริยา learn ใช้กับ to-infinitive ได้แล้ว แต่เราเกิด
จำไม่ได้ว่า learn + to-inf นี้คำกริยา learn เป็น vi เป็น vt กันแน่ ก็ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการใช้แต่ประการใดไม่ เพราะ learn + to-inf นี้มีความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ใน
ตัวเองอยู่แล้ว ไม่ว่าเราจะเรียก learn ในกรณีนี้ว่าเป็น vi หรือ vt ก็ตาม
อีกประการหนึ่งก็คือ หน้าที่ในการระบุว่า learn ในกรณีนี้เป็นคำกริยา vi หรือ vt เป็น
หน้าที่ของนักภาษาศาสตร์ไม่ใช่หน้าที่ของผู้ใช้ สำหรับผู้ใช้แล้ว แค่รู้ว่ามีคำกริยาใดบ้าง
ที่ถูกกำหนดมาให้ใช้กับ to-infinitive ได้ ก็สุดยอดแล้วครับ
ในเชิงปฏิบัติ
ในเชิงปฏิบัติหรือในการใช้จริง การใช้คำกริยา vi + to-inf และคำกริยา vt + to-inf แบบสำเร็จรูปจะไม่มีความแตกต่างกัน เพราะมีรูป ‘คำกริยา + to-inf’ เหมือนกัน ดังนั้น เราจึงสามารท่องจำคำกริยาเหล่านี้รวมๆกันไปหรือปะปนกันไปทั้งข้อ 2 และข้อ 3 ได้
และ สมมติว่าเราท่องจำได้ว่าคำกริยา learn ใช้กับ to-infinitive ได้แล้ว แต่เราเกิด
จำไม่ได้ว่า learn + to-inf นี้คำกริยา learn เป็น vi เป็น vt กันแน่ ก็ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการใช้แต่ประการใดไม่ เพราะ learn + to-inf นี้มีความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ใน
ตัวเองอยู่แล้ว ไม่ว่าเราจะเรียก learn ในกรณีนี้ว่าเป็น vi หรือ vt ก็ตาม
อีกประการหนึ่งก็คือ หน้าที่ในการระบุว่า learn ในกรณีนี้เป็นคำกริยา vi หรือ vt เป็น
หน้าที่ของนักภาษาศาสตร์ไม่ใช่หน้าที่ของผู้ใช้ สำหรับผู้ใช้แล้ว แค่รู้ว่ามีคำกริยาใดบ้าง
ที่ถูกกำหนดมาให้ใช้กับ to-infinitive ได้ ก็สุดยอดแล้วครับ
4. คำกริยา vt + object + to-inf
คำกริยา vt + object + to-inf ก็คือ คำกริยา vt ที่ได้รับการกำหนดมาให้เราสามารถ
วาง to-inf ไว้ท้ายกรรมของคำกริยา vt นั้นๆได้ และ to-inf ก็จะขยายความกรรมนั้นๆไป
โดยอัตโนมัติได้ เช่น
–He expects her to marry him.
เขาคาดหวังให้เจ้าหล่อนแต่งงานกับเขา
วาง to-inf ไว้ท้ายกรรมของคำกริยา vt นั้นๆได้ และ to-inf ก็จะขยายความกรรมนั้นๆไป
โดยอัตโนมัติได้ เช่น
–He expects her to marry him.
เขาคาดหวังให้เจ้าหล่อนแต่งงานกับเขา
ในประโยคนี้ to marry him จะขยายความ her ซึ่งเป็นกรรมของคำกริยา expect โดยอัตโนมัติ
คำกริยา vt + object ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้ to-inf ขยายความ object ได้ มีดังต่อไปนี้
คำกริยา vt + object ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้ to-inf ขยายความ object ได้ มีดังต่อไปนี้
–allow sb to do sth = อนุญาตให้บางคนทำบางสิ่ง
–ask sb to do sth = ขอให้บางคนทำบางสิ่งให้
–dare sb to do sth = ท้าทายบางคนให้ทำบางสิ่ง
–expect sb to do sth = คาดหวังว่าบางคนจะทำบางสิ่ง
–get sb to do sth = ขอให้บางคนทำบางสิ่ง
–hate sb to be/to do sth = ไม่อยาก/ไม่ชอบให้บางคนเป็น/ทำบางสิ่ง
–help sb to do sth = ช่วยบางคนทำบางสิ่ง
–invite sb to do sth = ขอให้บางคนไปร่วมกิจกรรมบางอย่าง
–leave sb to do sth = ปล่อยให้บางคนทำบางสิ่งตามลำพัง
–leave sb to do sth = ปล่อยให้บางคนทำบางสิ่งตามลำพัง
–like sb to do sth = ชอบให้บางคนทำบางสิ่ง
–love sb to do sth = อยากจะให้บางคนทำบางสิ่งให้เป็นพิเศษ
–need sb to do sth = จำเป็นต้องให้บางคนทำบางสิ่ง
–want sb to do sth = ต้องการให้บางคนทำบางสิ่ง
–pay sb to do sth = จ้างบางคนให้ทำบางสิ่ง
–prefer sb to do sth = ชอบให้บางคนทำบางสิ่ง
–send sb to do sth = ส่งบางคนไปทำบางสิ่ง
–tell sb to do sth = สั่งให้บางคนทำบางสิ่ง
–teach sb to do sth = สอนบางคนให้ทำบางสิ่ง
–take sth to do sth = ใช้เวลา/เงินทองเพื่อทำบางสิ่ง
–take sth to do sth = ใช้เวลา/เงินทองเพื่อทำบางสิ่ง
–use sth to do sth = ใช้บางสิ่งเป็นสื่อกลางเพื่อทำบางสิ่ง
–wish sb to do sth = ปรารถนาให้บางคนทำบางสิ่ง
–remind sb to do sth = เตือนความจำบางคนให้ทำบางสิ่ง
–warn sb to do sth = เตือนบางคนให้ทำบางสิ่ง/ไม่ให้ทำบางสิ่งเพราะจะมี
อันตรายหรือไม่เหมาะสม
–The police warn drivers to drive 80 kilometres an hour at maximum speed.
ตำรวจเตือนผู้ขับขี่ให้ขับรถที่ความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเป็นอย่างมาก
–Mom warned me not to expose my personal items on the internet. And I’m going to do what my mom said.
แม่เตือนฉันไม่ให้เปิดเผยของสงวนในโลกอินเตอะร์เน็ท และฉันก็ตั้งใจจะทำในสิ่งที่แม่ได้เตือนไว้
ตามหลักการ คำกริยา vt + object ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้ to-inf ขยายความ object ได้นี้ เราไม่สามารถสร้างขึ้นใช้เองได้ ต้องใช้ไปตามที่
นักภาษาศาสตร์กำหนดมานี้เท่านั้น
ดังนั้น ถ้าท่านผู้อ่านพยายามท่องจำ คำกริยา vt + object + to-inf
แบบสำเร็จรูปเหล่านี้ไว้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เราก็จะใช้คำกริยา vt
+ object + to-inf ได้ถูกต้องในแบบที่เจ้าของภาษาใช้
อันตรายหรือไม่เหมาะสม
–The police warn drivers to drive 80 kilometres an hour at maximum speed.
ตำรวจเตือนผู้ขับขี่ให้ขับรถที่ความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเป็นอย่างมาก
–Mom warned me not to expose my personal items on the internet. And I’m going to do what my mom said.
แม่เตือนฉันไม่ให้เปิดเผยของสงวนในโลกอินเตอะร์เน็ท และฉันก็ตั้งใจจะทำในสิ่งที่แม่ได้เตือนไว้
ตามหลักการ คำกริยา vt + object ที่ได้รับการกำหนดมาให้ใช้ to-inf ขยายความ object ได้นี้ เราไม่สามารถสร้างขึ้นใช้เองได้ ต้องใช้ไปตามที่
นักภาษาศาสตร์กำหนดมานี้เท่านั้น
ดังนั้น ถ้าท่านผู้อ่านพยายามท่องจำ คำกริยา vt + object + to-inf
แบบสำเร็จรูปเหล่านี้ไว้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เราก็จะใช้คำกริยา vt
+ object + to-inf ได้ถูกต้องในแบบที่เจ้าของภาษาใช้
วิธีท่องจำ
วิธีท่องจำก็คือ ให้นำ ‘คำกริยา vt + object + to-inf’ ข้างต้นมาสร้างประโยค
ประจำตัวของท่านผู้อ่านขึ้นมา โดยสร้างจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของท่านผู้อ่านเอง
ประจำตัวของท่านผู้อ่านขึ้นมา โดยสร้างจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของท่านผู้อ่านเอง
เช่น ท่านผู้อ่านมักปล่อยให้สุนัขของตัวเองออกไปเที่ยวนอกบ้าน ‘allow sb to do
sth’ ของท่านผู้อ่านก็จะอยู่ในรูปประโยคประจำตัวดังต่อไปนี้ ‘I allow my dog to go out’ เป็นต้น
sth’ ของท่านผู้อ่านก็จะอยู่ในรูปประโยคประจำตัวดังต่อไปนี้ ‘I allow my dog to go out’ เป็นต้น
แล้วท่านผู้อ่านก็จะจดจำ ‘คำกริยา vt + object + to-inf’ ข้างต้นได้อย่างแม่นยำ
แทบจะทุกคำไป และพร้อมที่จะนำออกมาใช้ได้ทุกเมื่อโดยไม่ติดขัด
ข้อควรทราบ
คำกริยา + to-infinitive แบบสำเร็จรูปที่ผู้เขียนกล่าวมาในข้อ 2, 3 และ 4 นั้น เป็น
คำกริยา + to-infinitive ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันและใช้ไม่บ่อย แต่ยังมีคำกริยา + to-infinitive แบบสำเร็จรูปอยู่อีกจำนวนหนึ่ง แต่เป็นคำกริยาที่ใช้น้อยมากในชีวิตประจำวัน ผู้เขียนจึงไม่ขอกล่าวถึง เพราะจะเป็นภาระในการท่องจำของท่านผู้อ่านมากจนเกินไป
แทบจะทุกคำไป และพร้อมที่จะนำออกมาใช้ได้ทุกเมื่อโดยไม่ติดขัด
ข้อควรทราบ
คำกริยา + to-infinitive แบบสำเร็จรูปที่ผู้เขียนกล่าวมาในข้อ 2, 3 และ 4 นั้น เป็น
คำกริยา + to-infinitive ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันและใช้ไม่บ่อย แต่ยังมีคำกริยา + to-infinitive แบบสำเร็จรูปอยู่อีกจำนวนหนึ่ง แต่เป็นคำกริยาที่ใช้น้อยมากในชีวิตประจำวัน ผู้เขียนจึงไม่ขอกล่าวถึง เพราะจะเป็นภาระในการท่องจำของท่านผู้อ่านมากจนเกินไป
Infinitive without ‘to’ แบบสำเร็จรูป
การใช้ infinitive without ‘to’ จะมีอยู่แบบเดียว คือแบบสำเร็จรูปเท่านั้น
Infinitive without ‘to’ หรือ inf ได้รับการกำหนดให้ใช้ได้ 2 รูปแบบดังต่อไปนี้
1. ใช้ inf กับ help, make และคำกริยาเกี่ยวกับประสาท
สัมผัส
สัมผัส
การใช้ infinitive without ‘to’ หรือ inf กับ help, และ make และคำกริยาเกี่ยวกับ
ประสาทสัมผัส จะใช้ในกระสวนนี้เท่านั้น นั่นคือ ‘คำกริยา vt + object + inf’ และ inf จะทำหน้าที่ขยายความกรรมของคำกริยา vt
Help, และ make และคำกริยาเกี่ยวกับประสาทสัมผัสที่ใช้ inf มาขยายความกรรม
ได้ ได้แก่คำกริยาดังต่อไปนี้
–feel sth do sth = รู้สึกได้ว่าบางสิ่งเกิดขึ้น
–hear sb do sth = ได้ยินบางคนทำบางสิ่ง
ประสาทสัมผัส จะใช้ในกระสวนนี้เท่านั้น นั่นคือ ‘คำกริยา vt + object + inf’ และ inf จะทำหน้าที่ขยายความกรรมของคำกริยา vt
Help, และ make และคำกริยาเกี่ยวกับประสาทสัมผัสที่ใช้ inf มาขยายความกรรม
ได้ ได้แก่คำกริยาดังต่อไปนี้
–feel sth do sth = รู้สึกได้ว่าบางสิ่งเกิดขึ้น
–hear sb do sth = ได้ยินบางคนทำบางสิ่ง
–help sb do sth = ช่วยบางคนทำบางสิ่ง
–know sb do sth = รู้ว่าบางคนทำบางสิ่ง
–make sb/sth do sth = ทำให้บางคนทำบางสิ่ง;
ทำให้บางสิ่งเกิดขึ้น
–see sb do sth = เห็นบางคนทำบางสิ่ง
–watch sb do sth = เฝ้าดูบางคนทำบางสิ่ง
–know sb do sth = รู้ว่าบางคนทำบางสิ่ง
–make sb/sth do sth = ทำให้บางคนทำบางสิ่ง;
ทำให้บางสิ่งเกิดขึ้น
–see sb do sth = เห็นบางคนทำบางสิ่ง
–watch sb do sth = เฝ้าดูบางคนทำบางสิ่ง
‘คำกริยา vt + object + inf’ นี้เราต้องใช้ไปตามที่นักภาษาศาสตร์
กำหนดมาให้เราใช้ โดยไม่สามารถสร้างขึ้นมาใช้เองได้
และคำกริยา vt + object + inf ก็มีใช้อยู่ทั้งหมดประมาณ 7 คำข้างต้น
นี้เท่านั้น
อย่างไรก็ตาม ยังมีคำกริยา let และ verb to have อยู่อีก 2 คำ ซึ่งใช้
กับ inf ได้ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในหัวข้อถัดไป ยกเว้น verb to have ที่ผู้เขียน
ได้แยกไปเขียนไว้เป็นอีกบทความหนึ่ง เพราะมีเนื้อหาค่อนข้างมาก
กำหนดมาให้เราใช้ โดยไม่สามารถสร้างขึ้นมาใช้เองได้
และคำกริยา vt + object + inf ก็มีใช้อยู่ทั้งหมดประมาณ 7 คำข้างต้น
นี้เท่านั้น
อย่างไรก็ตาม ยังมีคำกริยา let และ verb to have อยู่อีก 2 คำ ซึ่งใช้
กับ inf ได้ ซึ่งจะได้กล่าวถึงในหัวข้อถัดไป ยกเว้น verb to have ที่ผู้เขียน
ได้แยกไปเขียนไว้เป็นอีกบทความหนึ่ง เพราะมีเนื้อหาค่อนข้างมาก
2. การใช้ let กับ inf
เราใช้ let กับ infinitive without ‘to’ ได้ดังต่อไปนี้
เราใช้ let กับ infinitive without ‘to’ ได้ดังต่อไปนี้
2.1 ใช้ let’s หรือ let us กับ inf เพื่อแสดง ‘การแนะนำหรือเสนอ
แนะให้ทำบางสิ่ง’ เช่น
–Let’s go.
–Let’s go out and have a lunch.
แนะให้ทำบางสิ่ง’ เช่น
–Let’s go.
–Let’s go out and have a lunch.
2.2 ใช้ let go ในความหมายว่า ‘ปล่อย’ เช่น
–Let go! You’re tearing my doll.
ปล่อยนะ! เธอกำลังจะทำให้ตุ๊กตาของฉันฉีกขาด
–Be careful. Don’t let go of the wheel.
ระวังหน่อย อย่าปล่อยมือจากพวงมาลัยนะ
–Don't let go. (Gravity)
อย่าปล่อยมือ
–Let go! You’re tearing my doll.
ปล่อยนะ! เธอกำลังจะทำให้ตุ๊กตาของฉันฉีกขาด
–Be careful. Don’t let go of the wheel.
ระวังหน่อย อย่าปล่อยมือจากพวงมาลัยนะ
–Don't let go. (Gravity)
อย่าปล่อยมือ
2.3 ใช้ let sb/sth do sth ในความหมายว่า ‘อนุญาตให้บางคนทำ
บางสิ่ง’ หรือ ‘อนุญาตให้บางสิ่งเกิดขึ้น’ เช่น
–I will let you do that.
–Who let this happen?
ขอให้ท่านผู้อ่านอ่านทบทวนการใช้ to-infinitive และ ‘infinitive without ‘to’ แบบสำเร็จรูปหลายๆเที่ยว แล้วหลักการใช้ต่างๆก็จะซึม
ซับอยู่ในหัวสมองของเรา และทำให้เราสามารถนำมาใช้ได้โดยอัตโนมัติ จนเจ้าของภาษาต้องทึ่งไปทีเดียว
บางสิ่ง’ หรือ ‘อนุญาตให้บางสิ่งเกิดขึ้น’ เช่น
–I will let you do that.
–Who let this happen?
ขอให้ท่านผู้อ่านอ่านทบทวนการใช้ to-infinitive และ ‘infinitive without ‘to’ แบบสำเร็จรูปหลายๆเที่ยว แล้วหลักการใช้ต่างๆก็จะซึม
ซับอยู่ในหัวสมองของเรา และทำให้เราสามารถนำมาใช้ได้โดยอัตโนมัติ จนเจ้าของภาษาต้องทึ่งไปทีเดียว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น