พื้นฐานที่จะช่วยให้เราเข้าใจ if-sentence ได้ง่ายๆ
ขอให้ท่านผู้อ่านท่องจำประโยค 3 ประโยคดังต่อไปนี้ ตลอดจน tenses ที่ใช้ และคำ
แปลที่ให้ไว้ให้แม่นยำ เพราะทั้ง 3 ประโยคนี้จะช่วยให้เราใช้ if-sentence ได้ง่ายๆโดย
เฉพาะในแง่ของการจำได้อย่างแม่นยำว่าประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ tense อะไร และประโยคผล (result clause) ใช้กับ tense อะไร ก่อนที่เราจะเข้าสู่เนื้อหาของ if-sentence เสียด้วยซ้ำ
ขอให้ท่านผู้อ่านท่องจำประโยค 3 ประโยคดังต่อไปนี้ ตลอดจน tenses ที่ใช้ และคำ
แปลที่ให้ไว้ให้แม่นยำ เพราะทั้ง 3 ประโยคนี้จะช่วยให้เราใช้ if-sentence ได้ง่ายๆโดย
เฉพาะในแง่ของการจำได้อย่างแม่นยำว่าประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ tense อะไร และประโยคผล (result clause) ใช้กับ tense อะไร ก่อนที่เราจะเข้าสู่เนื้อหาของ if-sentence เสียด้วยซ้ำ
–Do you mind if I smoke?
คุณจะว่าอะไรไหม ถ้าผมจะสูบบุหรี่?
–If I were you, I would call her.
สมมติว่ากันเป็นเกลอนะ กันจะโทรไปหาเจ้าหล่อน
–I would have watched that movie.
ฉันน่าจะได้ดูหนังเรื่องนั้น แต่กลับไม่ได้ดู
If-sentence คืออะไร?
If-sentence ก็คือ ประโยคเงื่อนไขที่ใช้เพื่อแสดงว่า ‘ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น ก็จะมี
อีกเหตุการณ์หนึ่งตามมา’ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ‘ถ้ามีประโยคเหตุ (if clause) เกิดขึ้น ก็จะมีประโยค (result clause) ผลตามมา’ เช่น
If-sentence ก็คือ ประโยคเงื่อนไขที่ใช้เพื่อแสดงว่า ‘ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น ก็จะมี
อีกเหตุการณ์หนึ่งตามมา’ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ‘ถ้ามีประโยคเหตุ (if clause) เกิดขึ้น ก็จะมีประโยค (result clause) ผลตามมา’ เช่น
–If you invite him, he will come.
ถ้าเธอเชื้อเชิญเขา เขาก็จะมา
ประโยคนี้ If you invite him คือประโยคเหตุ ส่วน he will come คือประโยคผล
If-sentence แบ่งเป็น 3 รูปแบบดังต่อไปนี้
ประโยคนี้ If you invite him คือประโยคเหตุ ส่วน he will come คือประโยคผล
If-sentence แบ่งเป็น 3 รูปแบบดังต่อไปนี้
1. If-sentence ที่แสดงความเป็นไปได้สูงหรือที่เป็นจริงเสมอ
ถ้าเราต้องการกล่าวถึงเงื่อนไขต่างๆในปัจจุบันที่เป็นไปได้สูงหรือที่เป็นจริงเสมอ เราจะ
ใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
ใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
–If he asks me, I will go with him.
ถ้าเขาขอฉัน ก็มีความเป็นไปได้มากที่ฉันจะไปกับเขา
–If you don’t study hard, you can’t pass the exams.
ถ้าเธอไม่ศึกษาอย่างหนัก ก็มีความเป็นไปได้มากที่เธอจะสอบไม่ผ่าน
–What will you do, if she says ‘no’?
คุณจะทำยังไง ถ้าเจ้าหล่อนปฏิเสธ?
–If the lighting appears, there follows the thunder.
ถ้าฟ้าแล่บ ก็จะมีฟ้าร้องตามมาเสมอ
–If it rains, the streets are flooded.
ถ้าฝนตก น้ำก็จะท่วมถนนเป็นประจำ
–If we freeze water, it will change into ice.
ถ้าเราทำให้น้ำถึงจุดเยือกแข็ง น้ำก็จะเปลี่ยนเป็นน้ำแข็งเสมอ
ขอให้ท่านผู้อ่านสังเกตด้วยว่า การใช้ if-sentence ที่แสดงความเป็นไปได้สูงหรือที่
เป็นจริงเสมอนี้ นักภาษาศาสตร์ได้กำหนดให้ประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ present simple เพราะ present simple เป็น tense ที่แสดงข้อเท็จจริงนั่นเอง [โปรดดูบทความ tenses(A)] ส่วนประโยคผล (result clause) ก็จะใช้กับ present simple หรือ future
simple ตามข้อเท็จจริงของสถานการณ์การใช้ของเรา
เป็นจริงเสมอนี้ นักภาษาศาสตร์ได้กำหนดให้ประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ present simple เพราะ present simple เป็น tense ที่แสดงข้อเท็จจริงนั่นเอง [โปรดดูบทความ tenses(A)] ส่วนประโยคผล (result clause) ก็จะใช้กับ present simple หรือ future
simple ตามข้อเท็จจริงของสถานการณ์การใช้ของเรา
ดังนั้นเมื่อมีการใช้ if-sentence ในกรณีนี้ขึ้นทั้งผู้สื่อและผู้รับสื่อก็จะเข้าใจตรงกัน
ทันทีว่า if-sentence ที่ใช้กับ present simple นี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความเป็นไปได้สูง
หรือข้อเท็จจริง
ทันทีว่า if-sentence ที่ใช้กับ present simple นี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความเป็นไปได้สูง
หรือข้อเท็จจริง
อย่างไรก็ตาม การใช้ if-sentence ในกรณีนี้มีความยืดหยุ่นในแง่ที่ว่า ในบางครั้ง
ประโยคเหตุ (if clause) สามารถใช้ present tense อื่นๆได้ เช่น present
continuous เป็นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของสถานการณ์การใช้ของผู้ใช้แต่
ละคนให้มากที่สุด เช่น
ประโยคเหตุ (if clause) สามารถใช้ present tense อื่นๆได้ เช่น present
continuous เป็นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของสถานการณ์การใช้ของผู้ใช้แต่
ละคนให้มากที่สุด เช่น
–If you are listening, I want to tell you I love you.
ถ้าคุณกำลังฟังอยู่ ผมอยากจะบอกว่าผมรักคุณ
ถ้าคุณกำลังฟังอยู่ ผมอยากจะบอกว่าผมรักคุณ
–Please stay tune, if you have won.
กรุณาอย่าเพิ่งเปิดไปช่องอื่น ถ้าคุณเพิ่งตอบคำถามถูกไปเมื่อซักครู่
กรุณาอย่าเพิ่งเปิดไปช่องอื่น ถ้าคุณเพิ่งตอบคำถามถูกไปเมื่อซักครู่
2. If-sentence ที่เป็นการสมมติหรือจินตนาการให้บางสิ่งเกิด
ขึ้น
ขึ้น
ถ้าเราต้องการกล่าวถึงเงื่อนไขต่างๆในปัจจุบันที่เป็นการสมมติหรือจินตนาการให้บางสิ่ง
เกิดขึ้น เราจะใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
เกิดขึ้น เราจะใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
–If Einstein were alive, he would agree with me.
สมมติว่าถ้าไอนสไตนยังมีชีวิตอยู่ เขาก็คงเห็นด้วยกับผม
–If I were bird, I could fly.
สมมติว่าถ้าผมเป็นนก ผมก็คงบินได้
–If I were him, I would invest in emerging market.
สมมติว่าถ้าผมเป็นเขานะ ผมก็คงลงทุนในตลาดเกิดใหม่
–If the earth had 2 moons, the night sky would be so exotic.
สมมติว่าถ้าโลกมีดวงจันทร์ 2 ดวง ท้องฟ้ายามค่ำคืนก็คงจะประหลาดล้ำ
–If she were/was here, I would propose.
สมมติว่าถ้าเจ้าหล่อนมาอยู่ที่นี่นะ ผมก็จะขอเจ้าหล่อนแต่งงาน
–I could call her, if I had her phone number.
ผมจะโทรหาเจ้าหล่อน ถ้าเพียงแต่ว่าผมมีเบอร์ของเจ้าหล่อนเท่านั้น
ขอให้ผู้อ่านสังเกตด้วยว่า ‘การใช้ if-sentence ที่เป็นการสมมติหรือจินตนาการให้
บางสิ่งเกิดขึ้น ณ เวลาปัจจุบัน’ นักภาษาศาสตร์ได้กำหนดให้ประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ past simple ทั้งๆที่เป็นการกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาปัจจุบัน ทั้งนี้ก็เพื่อ
แสดงว่า นี่เป็นเรื่องของการสมมติหรือจินตนาการที่บิดเบี้ยวไปจากข้อเท็จจริง การใช้
tense ในประโยคเหตุ (และประโยคผล) จึงบิดเบี้ยวไปจากหลักการใช้ tense ทั่วไปด้วย นั่นคือแทนที่จะเป็น present simple ก็กลายเป็น past simple ไป
บางสิ่งเกิดขึ้น ณ เวลาปัจจุบัน’ นักภาษาศาสตร์ได้กำหนดให้ประโยคเหตุ (if clause) ใช้กับ past simple ทั้งๆที่เป็นการกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาปัจจุบัน ทั้งนี้ก็เพื่อ
แสดงว่า นี่เป็นเรื่องของการสมมติหรือจินตนาการที่บิดเบี้ยวไปจากข้อเท็จจริง การใช้
tense ในประโยคเหตุ (และประโยคผล) จึงบิดเบี้ยวไปจากหลักการใช้ tense ทั่วไปด้วย นั่นคือแทนที่จะเป็น present simple ก็กลายเป็น past simple ไป
ดังนั้น เมื่อมีการใช้ if-sentence ที่แสดงความเป็นปัจจุบันในรูป past simple ทั้ง
ผู้สื่อและผู้รับสื่อก็จะเข้าใจตรงกันทันทีว่า if-sentence นี้เป็นเรื่องของการสมมติหรือ
จินตนาการขึ้นมา ไม่ใช่เรื่องของข้อเท็จจริง
ผู้สื่อและผู้รับสื่อก็จะเข้าใจตรงกันทันทีว่า if-sentence นี้เป็นเรื่องของการสมมติหรือ
จินตนาการขึ้นมา ไม่ใช่เรื่องของข้อเท็จจริง
และนี่ก็คือตรรกะในแบบของภาษาอังกฤษครับ!!!
3. If-sentence ที่เป็นการสมมติให้เหตุการณ์ในอดีตที่ไม่เกิด
ขึ้นให้เกิดขึ้น
ขึ้นให้เกิดขึ้น
ถ้าเราต้องการกล่าวถึงเงื่อนไขต่างๆที่เป็นการสมมติให้เหตุการณ์ในอดีตที่ไม่เกิดขึ้นให้
เกิดขึ้น เราจะใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
เกิดขึ้น เราจะใช้ if-sentence และ tenses ในรูปดังต่อไปนี้
–If I had known that movie was fun, I would have watched it.
ถ้าบังเอิญผมรู้ว่าหนังเรื่องนั้นสนุก ผมก็น่าจะได้ดูมัน ไม่ใช่ไม่ได้ดูอย่างนี้
–If I had set my alarm clock, I could have woken up early.
ถ้าบังเอิญผมตั้งนาฬิกาปลุกไว้ ผมก็คงตื่นเช้า ไม่ตื่นสายอย่างนี้
–If I had got some advice, I might have bought that stock.
ถ้าบังเอิญผมได้รับคำแนะนำ ผมก็คงซื้อหุ้นตัวนั้นไว้ ไม่ใช่ไม่ได้ซื้ออย่างนี้
–If he had shot himself, he wouldn’t have arranged his birthday party.
ถ้าบังเอิญเขาเจตนายิงตัวตายนะ เขาก็คงไม่เตรียมจัดงานวันเกิดไว้อย่างนี้ดอก
(= ผู้พูดคิดว่า he ไม่ได้ฆ่าตัวตาย แต่อาจถูกคนอื่นฆ่า แล้วมีการจัดฉากว่าเป็นการฆ่าตัวตาย)
การใช้ if-sentence ในข้อ 3 นี้ เราสามารถเอา had มาวางไว้หน้าประโยคและตัด if ออกได้ดังนี้
ถ้าบังเอิญเขาเจตนายิงตัวตายนะ เขาก็คงไม่เตรียมจัดงานวันเกิดไว้อย่างนี้ดอก
(= ผู้พูดคิดว่า he ไม่ได้ฆ่าตัวตาย แต่อาจถูกคนอื่นฆ่า แล้วมีการจัดฉากว่าเป็นการฆ่าตัวตาย)
การใช้ if-sentence ในข้อ 3 นี้ เราสามารถเอา had มาวางไว้หน้าประโยคและตัด if ออกได้ดังนี้
–Had I known that movie was fun, I would have watched it.ถ้าบังเอิญผมรู้ว่าหนังเรื่องนั้นสนุก ผมก็น่าจะได้ดูมัน ไม่ใช่ไม่ได้ดูอย่างนี้
หลักการใช้ if-sentence ในสถานการณ์การใช้จริง
ในสถานการณ์การใช้จริง การใช้ if-sentence ในข้อ 1 และ 2 ซึ่งต่างก็เป็นการกล่าว
ถึงเงื่อนไขต่างๆที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น ผู้ใช้แต่ละท่านอาจไม่จำเป็นต้องใช้เหมือนกัน นั่นคือ บางคนอาจเลือกใช้ if-sentence ในข้อ 1 มากล่าวถึงเหตุการณ์นั้น ส่วนบางคน
ก็อาจเลือกใช้ if-sentence ในข้อ 2 มากล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันนั้นก็ได้ เช่น
ในสถานการณ์การใช้จริง การใช้ if-sentence ในข้อ 1 และ 2 ซึ่งต่างก็เป็นการกล่าว
ถึงเงื่อนไขต่างๆที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น ผู้ใช้แต่ละท่านอาจไม่จำเป็นต้องใช้เหมือนกัน นั่นคือ บางคนอาจเลือกใช้ if-sentence ในข้อ 1 มากล่าวถึงเหตุการณ์นั้น ส่วนบางคน
ก็อาจเลือกใช้ if-sentence ในข้อ 2 มากล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันนั้นก็ได้ เช่น
A: If we buy mom this scarf, she will be so pleased.
ถ้าเราซื้อผ้าพันคอนี่ให้แม่ แม่คงยินดีมาก
B: If we bought mom this scarf, she would be so pleased.
สมมติว่าถ้าเราซื้อผ้าพันคอนี่ให้แม่ แม่ก็น่าจะยินดีมาก
ในสถานการณ์การซื้อผ้าพันคอให้แม่นี้ A มีความเชื่อว่า มีความเป็นไปได้สูงที่ถ้าซื้อ
ผ้าพันคอไปแล้ว แม่จะต้องยินดีมาก จึงใช้ if-sentence ในข้อที่ 1
ส่วน B กลับมีความรู้สึกไม่แน่ใจนักว่า ถ้าซื้อผ้าพันคอไปแล้วแม่จะยินดีมากหรือไม่
เพราะ B อาจจะเห็นว่าแม่มีผ้าพันคออยู่หลายผืนแล้วก็ได้ จึงได้เลือกใช้ if-sentence ที่เป็นการสมมติในข้อที่ 2 แทน
การใช้ if-sentence ที่ต่างกันในสถานการณ์เดียวกัน ณ เวลาเดียวกันนี้ อาจเกิดขึ้น
ได้ และก็ถือว่าเป็นการใช้ที่ถูกต้องทั้งคู่ อันขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้ใช้แต่ละคน
ดังนั้น เวลาเราไปเจอคนอื่นใช้ if-sentence ในข้อที่ 1 ในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้ว
เราเกิดสงสัยว่าในสถานการณ์นั้นจะใช้ if-sentence ในข้อที่ 2 ได้หรือไม่ ก็ขอตอบ
เลยว่าใช้ได้ครับ
ในทางกลับกัน ถ้าเราไปเจอคนอื่นใช้ if-sentence ในข้อที่ 2 ในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้วเราเกิดสงสัยว่าในสถานการณ์นั้นจะใช้ if-sentence ในข้อที่ 1 ได้หรือไม่ ก็ขอตอบ
เลยว่าใช้ได้อีกเช่นกันครับ
อย่างไรก็ตาม ถ้าเงื่อนไขของสถานการณ์นั้นเป็นจริงเสมอ ก็มักใช้กับ if-sentence ในข้อที่ 1 เท่านั้น เช่นถ้าเราซื้อผ้าพันคอนี่ให้แม่ แม่คงยินดีมาก
B: If we bought mom this scarf, she would be so pleased.
สมมติว่าถ้าเราซื้อผ้าพันคอนี่ให้แม่ แม่ก็น่าจะยินดีมาก
ในสถานการณ์การซื้อผ้าพันคอให้แม่นี้ A มีความเชื่อว่า มีความเป็นไปได้สูงที่ถ้าซื้อ
ผ้าพันคอไปแล้ว แม่จะต้องยินดีมาก จึงใช้ if-sentence ในข้อที่ 1
ส่วน B กลับมีความรู้สึกไม่แน่ใจนักว่า ถ้าซื้อผ้าพันคอไปแล้วแม่จะยินดีมากหรือไม่
เพราะ B อาจจะเห็นว่าแม่มีผ้าพันคออยู่หลายผืนแล้วก็ได้ จึงได้เลือกใช้ if-sentence ที่เป็นการสมมติในข้อที่ 2 แทน
การใช้ if-sentence ที่ต่างกันในสถานการณ์เดียวกัน ณ เวลาเดียวกันนี้ อาจเกิดขึ้น
ได้ และก็ถือว่าเป็นการใช้ที่ถูกต้องทั้งคู่ อันขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้ใช้แต่ละคน
ดังนั้น เวลาเราไปเจอคนอื่นใช้ if-sentence ในข้อที่ 1 ในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้ว
เราเกิดสงสัยว่าในสถานการณ์นั้นจะใช้ if-sentence ในข้อที่ 2 ได้หรือไม่ ก็ขอตอบ
เลยว่าใช้ได้ครับ
ในทางกลับกัน ถ้าเราไปเจอคนอื่นใช้ if-sentence ในข้อที่ 2 ในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้วเราเกิดสงสัยว่าในสถานการณ์นั้นจะใช้ if-sentence ในข้อที่ 1 ได้หรือไม่ ก็ขอตอบ
เลยว่าใช้ได้อีกเช่นกันครับ
–If it rains, the streets are flooded.
ถ้าฝนตก น้ำก็จะท่วมถนนเป็นประจำ
–If we freeze water, it will change into ice.
ถ้าเราทำในน้ำถึงจุดเยือกแข็ง น้ำก็จะเปลี่ยนเป็นน้ำแข็งเสมอ
ในขณะเดียวกัน ถ้าเงื่อนไขของสถานการณ์นั้นเป็นการสมมติที่เหนือธรรมชาติ ก็มักใช้กับ
if-sentence ในข้อที่ 2 เท่านั้น เช่น
–If I were bird, I could fly.
สมมติว่าถ้าผมเป็นนก ผมก็คงบินได้
–If I were him, I would invest in emerging market.
สมมติว่าถ้าผมเป็นเขานะ ผมก็คงลงทุนในตลาดเกิดใหม่
ถ้าฝนตก น้ำก็จะท่วมถนนเป็นประจำ
–If we freeze water, it will change into ice.
ถ้าเราทำในน้ำถึงจุดเยือกแข็ง น้ำก็จะเปลี่ยนเป็นน้ำแข็งเสมอ
ในขณะเดียวกัน ถ้าเงื่อนไขของสถานการณ์นั้นเป็นการสมมติที่เหนือธรรมชาติ ก็มักใช้กับ
if-sentence ในข้อที่ 2 เท่านั้น เช่น
–If I were bird, I could fly.
สมมติว่าถ้าผมเป็นนก ผมก็คงบินได้
–If I were him, I would invest in emerging market.
สมมติว่าถ้าผมเป็นเขานะ ผมก็คงลงทุนในตลาดเกิดใหม่
ส่วนการใช้ if-sentence ในข้อที่ 3 ซึ่งเป็นการกล่าวถึงเงื่อนไขต่างๆที่เป็นการสมมติ
ให้เหตุการณ์ในอดีตที่ไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้นนั้น มีการใช้อยู่วิธีเดียวเท่านั้น คือ
ให้เหตุการณ์ในอดีตที่ไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้นนั้น มีการใช้อยู่วิธีเดียวเท่านั้น คือ
If + had + v3, + would/could/might + have + v3
จึงไม่มีลักษณะของการใช้ต่างเกิดขึ้น
จึงไม่มีลักษณะของการใช้ต่างเกิดขึ้น
การใช้ if-sentence ก็ง่ายๆอย่างนี้แหละ ไม่มีอะไรซับซ้อน ดังนั้น ขอให้ท่านผู้อ่านลงมือใช้กันได้เลยครับ
อ้อ...อย่าลืมนะครับว่า เมื่อใดก็ตามที่เราจำเป็นต้องใช้ if-sentence ขึ้น
มาอย่างฉับพลันทันทีและเกิดลืมว่าประโยคเหตุ (if clause) และประโยคผล (result clause) ใช้กับ tense อะไร ก็ขอให้นึกถึงประโยคพื้นฐานทั้ง 3 ประโยคนี้
มาอย่างฉับพลันทันทีและเกิดลืมว่าประโยคเหตุ (if clause) และประโยคผล (result clause) ใช้กับ tense อะไร ก็ขอให้นึกถึงประโยคพื้นฐานทั้ง 3 ประโยคนี้
1) Do you mind if I smoke?
2) If I were you, I would call her.
3) I would have watched that movie.
แล้วเราก็จะนึกออกทันทีว่าประโยคเหตุ และประโยคผล ต้องใช้กับ tense อะไร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น